อยากมีส่วนร่วมในการใช้พลังงานสะอาด ? MINI REC คือคำตอบ
RECs 1 MW อาจจะใหญ่เกินไปสำหรับรายย่อย แต่ตอนนี้เกิดแพลตฟอร์มสำหรับผู้ซื้อขายรายย่อย เพื่อให้สามารถซื้อ RECs ได้ในหน่วยที่เล็กลง ที่เรียกว่า mini REC
RECs 1 MW อาจจะใหญ่เกินไปสำหรับรายย่อย แต่ตอนนี้เกิดแพลตฟอร์มสำหรับผู้ซื้อขายรายย่อย เพื่อให้สามารถซื้อ RECs ได้ในหน่วยที่เล็กลง ที่เรียกว่า mini REC
COP21 มีเป้าหมายการประชุมที่สำคัญ คือ Differentiation เป็นความยากที่สุดของการประชุมเจรจาเพื่อให้ได้มติที่ประชุมฉบับทางการออกมา
Overall Target เป้าหมายสูงสุดที่ 2 oC
Climate Finance การสนับสนุนทางการเงินจากประเทศพัฒนาแล้ว และประเด็นใหม่คือสัญญาณที่จะส่งไปยัง Private Sector ในการมุ่งสู่ยุคของการหยุดใช้พลังงานฟอสซิล มากกว่าการบังคับการลดระดับประเทศโดยกฎหมายระหว่างประเทศ ดังเช่นที่เคยประชุมครั้งที่ผ่านๆ มาแต่ไม่ประสบผลสำเร็จ
โรงไฟฟ้าปัจจุบันที่ต้องคำนึงถึงการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม การลดมลภาวะ SOx NOx รวมถึง CO2 นั้น การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต คือ วิธีการที่ใช้ได้เชิงพาณิชย์ และมีต้นทุนการผลิตต่ำที่สุด ในอนาคตอันใกล้นี้ยังสามารถเพิ่มประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่องโดยการพัฒนาเทคโนโลยี Combustion และ Gasification อีกด้วย
โรงไฟฟ้าถ่านหินสร้างใหม่ในอเมริกา ต้องปล่อย CO2 ไม่เกิน 1,100 pounds/MWh คือ โรงไฟฟ้าถ่านหินจะทำตามมาตรฐานเท่านี้ได้ ต้องเพิ่มระบบดักจับและกักเก็บ CO2 (Carbon Capture and Storage) ด้วย อย่างไรก็ตาม การพัฒนาระบบดังกล่าวยังไม่ประสบผลสำเร็จในเชิงธุรกิจ
“Energy Efficiency is called the forgotten Fuel“ กรณีศึกษา โรงงาน Schneider Electric แก้อาการลืมเชื้อเพลิงของเรา คือ “Fix the Basic” เพื่อมุ่งสู่ ISO50001
การศึกษาแนวทางการลดก๊าซเรือนกระจกจากภาคพลังงานอย่างยั่งยืน โดยความร่วมมือระหว่างประเทศญี่ปุ่น-ไทยครั้งนี้ “Road Map for a Low-carbon Thailand towards 2050″ มีจุดประสงค์เพื่อให้เกิดการวางแผนตอบสนองนโยบายดังกล่าวอย่างเป็นวงกว้างในประเทศไทย
มีรายการทีวีทุกเช้า “Electricity forcast” ประกาศ พีคโหลดคาดการณ์รายวัน และแสดง maximum utilization factor ให้เห็นทั้งประเทศ การคาดการณ์โรงไฟฟ้าประเภทอื่นที่จะเข้ามาทดแทน Capacity ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่หายไป 38 จากทั้งหมด 54 Reactors ทั่วประเทศ ทำให้การวางแผนถึงปี 2012 ลงทุนเพิ่มโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิง Fossil สูงขึ้นถึง 45% นั่นคือ ส่งผลถึงค่าไฟฟ้าที่ต้องจ่ายสูงขึ้น 18% และ 36% สำหรับบ้านเรือน และภาคอุตสาหกรรม ตามลำดับ
การเสวนา #GreenPowerPlant ณ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย วันที่ 6 มิ.ย.55
สรุปได้ว่า รัฐบาลพยายามอุดหนุนพลังงานของประเทศเกือบทั้งหมด ทั้งภาคขนส่งและภาคการผลิตไฟฟ้า การ Educate ประชาชนว่า เราต้องจ่ายแพงขึ้นสำหรับสาธารณูปโภค น้ำมัน ก๊าซ ไฟฟ้า ถือว่าเป็นเรื่องที่ยากก็จริง แต่มันเป็นสิ่งจำเป็นกับสภาวะปัจจุบันอย่างปฏิเสธไม่ได้ ขึ้นอยู่กับว่า จะให้ผลกระทบนั้นมาถึงประชาชนแบบค่อยเป็นค่อยไปหรือจะเอาแบบฉับพลันตั้งตัวไม่ได้ หรือว่ารอจังหวะเหมาะที่เป็นรัฐบาลของใคร ?!?
รัฐวิสาหกิจ 2 แห่งที่อยู่ระหว่างศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน คือ กฟผ. และ กปน. เพื่อ (1) จัดหาเงินทุน และ (2) ลดหนี้สาธารณะ โดยประเด็นลดหนี้สาธารณะนั้นได้ถูกหยิบยกให้เป็นเหตุผลอันดับหนึ่ง เหตุผลสำคัญในการจัดตั้งกองทุนฯ ทำให้เกิดการชักจูงความคิดให้เข้าใจว่าหน่วยงานรัฐวิสาหกิจเป็นผู้ก่อให้เกิดหนี้จำนวนมหาศาล แต่ถ้าตั้งขึ้นมาสำเร็จแล้ว ค่าน้ำค่าไฟแบบใดจะสูงกว่ากัน