Crisis

ประวัติการสำรวจและขุดเจาะก๊าซธรรมชาติประเทศไทย

เริ่มผลิตไฟฟ้าด้วยก๊าซธรรมชาติ พ.ศ. 2524 หลังจากการค้นพบ แหล่งเอราวัณ และบริษัท Unocal ทำความตกลงขายก๊าซให้กับบริษัท ปตท.เป็นผลสำเร็จ ก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทยก็ถูกส่งมาตามท่อใต้ทะเล ขึ้นฝั่งที่ระยองเพื่อนำมาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า จนกระทั่งปัจจุบันผลิตไฟฟ้าด้วยก๊าซธรรมชาติเป็นสัดส่วนเกือบ 70% ของการผลิตไฟฟ้าทั้งประเทศไทย

เบื้องหลัง Blackout 14 จังหวัดภาคใต้ ปี 2556

เหตุการณ์ Blackout ครั้งนี้ เมื่อสายส่งจากภาคกลางมีปัญหา ย่อมทำให้ตัดไฟฟ้าที่ส่งมาช่วยภาคใต้ ไฟฟ้าหายไปเกือบครึ่งหนึ่งทีเดียวของ Demand โรงไฟฟ้ามีระบบ Protection ตัวเอง จะค่อยๆ ปลดตัวเองออกจากระบบ

ประหยัดไฟฟ้า-Energy Efficiency-ช่วยญี่ปุ่นรอดวิกฤตไฟฟ้า

มีรายการทีวีทุกเช้า “Electricity forcast” ประกาศ พีคโหลดคาดการณ์รายวัน และแสดง maximum utilization factor ให้เห็นทั้งประเทศ การคาดการณ์โรงไฟฟ้าประเภทอื่นที่จะเข้ามาทดแทน Capacity ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่หายไป 38 จากทั้งหมด 54 Reactors ทั่วประเทศ ทำให้การวางแผนถึงปี 2012 ลงทุนเพิ่มโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิง Fossil สูงขึ้นถึง 45% นั่นคือ ส่งผลถึงค่าไฟฟ้าที่ต้องจ่ายสูงขึ้น 18% และ 36% สำหรับบ้านเรือน และภาคอุตสาหกรรม ตามลำดับ

นวัตกรด้านภัยพิบัติ รางวัลงาน True Innovation Awards 2011 ระดับประเทศ

พบกับ “นวัตกรไทย” ผู้มีไอเดียสร้างสรรค์ดีดี รับรางวัลงาน True Innovation Awards 2011 ระดับประเทศ สำหรับรางวัล “Bronze” ที่คุณบุญทุ่ม ชนะพันธ์ ประสบความสำเร็จกับนวัตกรรม “แคบซูลหลบภัยสึนามิ” เข้ากับสถานการณ์ภัยพิบัติในยุคปัจจุบันทีเดียว ฟังคอมเมนต์และชมบรรยากาศเข้ารอบสุดท้าย ทั้งเครียด ซีเรียส และตื่นเต้นกันค่ะ

ความสำคัญของเขื่อน : ช่วยกู้ระบบไฟฟ้าประเทศไทย (Black Start)

Blog นี้ได้กล่าวถึงวิกฤตการณ์ซีเรียสอีกรูปแบบหนึ่งที่สามารถเกิดกับระบบกำลังไฟฟ้า ซึ่งส่งผลให้คนไม่สามารถติดต่อสื่อสารกันได้เลยว่าเกิดอะไรขึ้น ถ้านานมากๆ แน่นอนที่จะส่งผลต่อการดำรงชีวิตของคนอย่างรุนแรงมาก วิกฤตการณ์ที่ว่านี้คือการเกิดไฟฟ้าดับเป็นพื้นที่หลายจังหวัดติดต่อกัน ที่เรียกว่า “Blackout” และในกระบวนการที่ช่วยกู้ระบบไฟฟ้ากลับขึ้นมาได้เรียก “Black Start” ซึ่งส่วนหนึ่งต้องใช้โรงไฟฟ้าเขื่อนนี่เองค่ะ ช่วยทำให้การกู้ระบบไฟฟ้ากลับคืนมาด้วยความรวดเร็ว นั่นหมายถึงความมั่นคงของทั้งระบบไฟฟ้าของประเทศไทยทีเดียว

10 คำถาม น้ำสะสมในเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ที่ผ่านมา ใครรับผิดชอบ?

มีคำถามมากมายเกี่ยวกับสาเหตของน้ำท่วมในครั้งนี้ บ้างก็ว่าเป็นสาเหตจากกรมชลประทาน บ้างก็ว่ามีสาเหตจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตผู้ควบคุมเขื่อน ในที่สุดทางฝั่งการไฟฟ้าฝ่ายผลิต (กฟผ) ก็มีคำตอบในเรื่องนี้ค่ะ

วิกฤตน้ำท่วมที่ 3 การไฟฟ้าฯ ต้องเผชิญ

การไฟฟ้าฯ ทั้งสามส่วนนี้ สามารถแบ่งวิกฤตได้เป็น 3 ส่วนคือ วิกฤตปริมาณน้ำ (กรมชลประทานและการไฟฟ้าฝ่ายผลิต), วิกฤตต่อลูกค้าใช้ไฟฟ้าโดยตรง (การไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค) และ วิกฤตที่จะไม่มีไฟฟ้าส่งให้ใช้เพียงพอ(การไฟฟ้าฝ่ายผลิต)

Blackout Benchmark ของประเทศไทย

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยมีสถิติที่ไม่เคยเกิด Power Blackout เลย ซึ่งแน่นอน Benchmark ย่อมดีกว่าประเทศผู้นำอย่างสหรัฐอเมริกาและแคนาดาแน่นอน แต่เวลาจะเปรียบเทียบ ฺBlackout Benchmark เราอาจจะต้องเทียบกับประเทศกำลังพัฒนาด้วยกัน