ประเทศไทย

ไฟฟ้าระบบ Grid ยุโรป อย่างงี้ก็มีด้วย!

การรักษา Supply ของกระแสไฟฟ้าให้ตอบสนองกับ Demand หรือที่เรียกกันในภาษาเทคนิคว่า Match Demand and Supply of Electricity นี่เป็นความยากของ System Operator เสียจริง ตัวอย่าง กรณีศึกษาพลังงานไฟฟ้าในช่วงพระราชพิธีอภิเษกสมรส ประเทศเนเธอร์แลนด์

ประหยัดไฟฟ้า-Energy Efficiency-ช่วยญี่ปุ่นรอดวิกฤตไฟฟ้า

มีรายการทีวีทุกเช้า “Electricity forcast” ประกาศ พีคโหลดคาดการณ์รายวัน และแสดง maximum utilization factor ให้เห็นทั้งประเทศ การคาดการณ์โรงไฟฟ้าประเภทอื่นที่จะเข้ามาทดแทน Capacity ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่หายไป 38 จากทั้งหมด 54 Reactors ทั่วประเทศ ทำให้การวางแผนถึงปี 2012 ลงทุนเพิ่มโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิง Fossil สูงขึ้นถึง 45% นั่นคือ ส่งผลถึงค่าไฟฟ้าที่ต้องจ่ายสูงขึ้น 18% และ 36% สำหรับบ้านเรือน และภาคอุตสาหกรรม ตามลำดับ

อึ้ง! ไทยใช้เชื้อเพลิงถูกได้อีกไม่เกิน 3 ปี

สรุปได้ว่า รัฐบาลพยายามอุดหนุนพลังงานของประเทศเกือบทั้งหมด ทั้งภาคขนส่งและภาคการผลิตไฟฟ้า การ Educate ประชาชนว่า เราต้องจ่ายแพงขึ้นสำหรับสาธารณูปโภค น้ำมัน ก๊าซ ไฟฟ้า ถือว่าเป็นเรื่องที่ยากก็จริง แต่มันเป็นสิ่งจำเป็นกับสภาวะปัจจุบันอย่างปฏิเสธไม่ได้ ขึ้นอยู่กับว่า จะให้ผลกระทบนั้นมาถึงประชาชนแบบค่อยเป็นค่อยไปหรือจะเอาแบบฉับพลันตั้งตัวไม่ได้ หรือว่ารอจังหวะเหมาะที่เป็นรัฐบาลของใคร ?!?

กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน ต้องเกิด เพราะหนี้สาธารณะจริงหรือ

รัฐวิสาหกิจ 2 แห่งที่อยู่ระหว่างศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตั้งกองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน คือ กฟผ. และ กปน. เพื่อ (1) จัดหาเงินทุน และ (2) ลดหนี้สาธารณะ โดยประเด็นลดหนี้สาธารณะนั้นได้ถูกหยิบยกให้เป็นเหตุผลอันดับหนึ่ง เหตุผลสำคัญในการจัดตั้งกองทุนฯ ทำให้เกิดการชักจูงความคิดให้เข้าใจว่าหน่วยงานรัฐวิสาหกิจเป็นผู้ก่อให้เกิดหนี้จำนวนมหาศาล แต่ถ้าตั้งขึ้นมาสำเร็จแล้ว ค่าน้ำค่าไฟแบบใดจะสูงกว่ากัน

ความสำคัญของเขื่อน : ช่วยกู้ระบบไฟฟ้าประเทศไทย (Black Start)

Blog นี้ได้กล่าวถึงวิกฤตการณ์ซีเรียสอีกรูปแบบหนึ่งที่สามารถเกิดกับระบบกำลังไฟฟ้า ซึ่งส่งผลให้คนไม่สามารถติดต่อสื่อสารกันได้เลยว่าเกิดอะไรขึ้น ถ้านานมากๆ แน่นอนที่จะส่งผลต่อการดำรงชีวิตของคนอย่างรุนแรงมาก วิกฤตการณ์ที่ว่านี้คือการเกิดไฟฟ้าดับเป็นพื้นที่หลายจังหวัดติดต่อกัน ที่เรียกว่า “Blackout” และในกระบวนการที่ช่วยกู้ระบบไฟฟ้ากลับขึ้นมาได้เรียก “Black Start” ซึ่งส่วนหนึ่งต้องใช้โรงไฟฟ้าเขื่อนนี่เองค่ะ ช่วยทำให้การกู้ระบบไฟฟ้ากลับคืนมาด้วยความรวดเร็ว นั่นหมายถึงความมั่นคงของทั้งระบบไฟฟ้าของประเทศไทยทีเดียว

10 คำถาม น้ำสะสมในเขื่อนภูมิพลและเขื่อนสิริกิติ์ที่ผ่านมา ใครรับผิดชอบ?

มีคำถามมากมายเกี่ยวกับสาเหตของน้ำท่วมในครั้งนี้ บ้างก็ว่าเป็นสาเหตจากกรมชลประทาน บ้างก็ว่ามีสาเหตจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตผู้ควบคุมเขื่อน ในที่สุดทางฝั่งการไฟฟ้าฝ่ายผลิต (กฟผ) ก็มีคำตอบในเรื่องนี้ค่ะ

วิกฤตน้ำท่วมที่ 3 การไฟฟ้าฯ ต้องเผชิญ

การไฟฟ้าฯ ทั้งสามส่วนนี้ สามารถแบ่งวิกฤตได้เป็น 3 ส่วนคือ วิกฤตปริมาณน้ำ (กรมชลประทานและการไฟฟ้าฝ่ายผลิต), วิกฤตต่อลูกค้าใช้ไฟฟ้าโดยตรง (การไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค) และ วิกฤตที่จะไม่มีไฟฟ้าส่งให้ใช้เพียงพอ(การไฟฟ้าฝ่ายผลิต)

กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง กระทบนโยบายพลังงานทางเลือกแน่นอน!!!

*****วันนี้คงต้องรอฟังข่าวดูว่า ผลการประชุมจะออกมาเป็นอย่างไร แต่ที่แน่ๆ รมต. พลังงานก็ไม่ใช่ พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ที่มีนโยบายตรึงราคาพลังงานมาตลอด
ส่วนคนที่รณรงค์ให้ใช้ NGV นี้ก็คงต้องพับโปรเจคกันชั่วคราว มาตั้งหลักกันใหม่แน่แน่เลย*****

ภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้น(2): รอยเลื่อนกับเขื่อนไทย

เหตุการณ์ ณ ตอนน้ำท่วมเมื่อพิจารณากับลักษณะของพีค มีสิ่งที่น่าสนใจคือ

+ ถ้าไม่ใช่ช่วงเดือน เม.ย.- พ.ค. ปริมาณพีคคงไม่สูงสุด
+ ถ้าไม่ใช่ช่วงเวลาพีค ปริมาณพีคก็ไม่สูงสุดเช่นกัน แต่กรณีนี้แต่ละพื้นที่เวลาน้ำขึ้นไม่เท่ากัน ต้องพิจารณาละเอียดนิดนึง
+ ถ้าไม่ต้องให้ 2 เขื่อนเสี่ยงช่วย (1/3 ของทุกเขื่อน) โดยเตรียมเขื่อนอื่นไว้ผลิตไฟฟ้าเอง ก็ยังเพียงพออยู่จากปริมาณสำรองของเขื่อน 3 เท่าตัว
+ มีเขื่อนที่ประเทศลาวทำสัญญาซื้อไฟไว้ 6.6% ของปริมาณการผลิตพลังงานไฟฟ้าของไทย ในปี 54 เทียบกับเขื่อนในไทยเพียง 3.6% ในปีเดียวกัน แถมการจัดการยังอยู่ในมือเราที่เตรียมการวักน้ำเอาไว้ในเขื่อนเค้าก่อน เวลาต้องการก็ค่อยปล่อยน้ำได้อีก
อีกทั้งยังได้สรุปแหล่งข้อมูลสำคัญสำหรับการตัดสินใจของผู้บริหารไว้ด้วยค่ะ

1 2