ความรู้ทั่วไปด้านบริหารจัดการ

สัญญาณอันตรายวิกฤตทรัพยากร: น้ำ ไฟ ก๊าซ

จาก Blog ก่อนหน้านี้ ที่ได้เคยประมาณจุดเริ่มต้นของการพึ่งพาทรัพยากรจากเพื่อนบ้านอย่างเต็มที่ปี 2561-62 ปี 2558 นี้มีสัญญาณอันตรายให้คนไทยรับรู้จากข่าวสารรอบตัวในเรื่องการเข้าสู่ภาวะวิกฤตทรัพยากรธรรมชาติ จึงได้รวบรวมสิ่งซึ่งเคยเป็นสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน : น้ำ ไฟ ก๊าซธรรมชาติ เพื่อสรุปเรื่องการบูรณาการแผนของไทย และความเสี่ยงที่ยังเหลืออยู่

กิจการไฟฟ้าและระบบซื้อขายใบอนุญาต-แคนาดา

ประเทศแคนาดาตามในภาพเป็นอีกประเทศพัฒนาแล้วที่กิจการไฟฟ้ามีหลายระบบ และสถานะการจัดการก๊าซเรือนกระจกก็แตกต่าง มีทั้งมาตรการ ETS และภาษีคาร์บอน (Carbon Tax) ที่ปรับใช้งาน

แผนพลังงานไทยรวมเป็นหนึ่ง

จากการเปิดตัวยิ่งใหญ่ของ Thailand Integrated Energy Blueprint (TIEB) ในงาน Renewable Asia 2015 เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2558 แผนที่เคยถูกวางแบบไม่อ้างอิงกันเลย ถูกนำมาบูรณาการกันทั้งหมด การจัดลำดับความสำคัญของประเทศไทยในเรื่องพลังงานชัดเจนขึ้น

เริ่มปิดไฟ 2 ทุ่มครึ่งช่วยชาติ

วันนี้มีการปิดไฟช่วยชาติ การบริหารจัดการด้าน DSM ลดทรัพยากรผลิตไฟฟ้า ลดก๊าซเรือนกระจก ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน ลดการใช้ไฟฟ้าให้ตรงเวลา มีส่วนช่วยวางแผนพลังงานของประเทศ

ประวัติการสำรวจและขุดเจาะก๊าซธรรมชาติประเทศไทย

เริ่มผลิตไฟฟ้าด้วยก๊าซธรรมชาติ พ.ศ. 2524 หลังจากการค้นพบ แหล่งเอราวัณ และบริษัท Unocal ทำความตกลงขายก๊าซให้กับบริษัท ปตท.เป็นผลสำเร็จ ก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทยก็ถูกส่งมาตามท่อใต้ทะเล ขึ้นฝั่งที่ระยองเพื่อนำมาใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า จนกระทั่งปัจจุบันผลิตไฟฟ้าด้วยก๊าซธรรมชาติเป็นสัดส่วนเกือบ 70% ของการผลิตไฟฟ้าทั้งประเทศไทย

วิกฤติไฟฟ้าภาคใต้-ทำไมไม่สร้างโรงไฟฟ้าที่จังหวัดภูเก็ต

ช่วงนี้เป็นช่วงวิกฤตด้านพลังงานไฟฟ้าภาคใต้ ที่มีเหตุการณ์หยุดจ่ายก๊าซจากแหล่งพัฒนาร่วมไทยมาเลเซีย (Joint Development Area: JDA-A18) ตั้งแต่วันที่ 28 มิถุนายน – 10 กรกฎาคม 2557 ย้อนไปปีที่แล้วที่เพิ่งเกิดเหตุการไฟฟ้าดับภาคใต้ 14 จังหวัด
เหตุการณ์ไฟฟ้าดับ จึงมีการใช้มาตรการช่วยกันประหยัดไฟฟ้าซึ่งเป็น Demand Side Management ที่ร่วมมือกันอย่างจริงจังหลายภาคส่วน แสดงว่า คนไทยภาคใต้เริ่มตระหนักแล้วว่าทรัพยากรเริ่มขาดแคลน เพราะเหตุการณ์นี้สะท้อนให้เห็นปฏิกริยาจากพฤติกรรมของคนต่อเรื่องพลังงานอย่างทันทีทันใด จังหวัดที่ใช้ปริมาณพลังงานไฟฟ้าสูงมี 2 จังหวัดที่น่าสนใจ คือ จังหวัดสงขลาและจังหวัดภูเก็ต สำหรับจังหวัดสงขลามีโรงไฟฟ้าจะนะที่เป็นโรงใหญ่ ซึ่งนอกจากช่วยจังหวัดตัวเอง แล้วก็ยังช่วยจังหวัดข้างเคียง แต่สิ่งที่น่าแปลกใจคือ เหตุใดจึงไม่มีแผนก่อสร้างโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่ภูเก็ต เพราะภูเก็ตใช้ไฟฟ้ามากที่สุดถึง 325 เมกะวัตต์ช่วงพีค

ก๊าซธรรมชาติจะหมดในไม่ถึง 10ปี ! และผลกระทบลูกโซ่

ก๊าซธรรมชาติให้เราใช้ไม่ถึง 10 ปี และในปลายปี 2556 ปลัดกระทรวงพลังงานเคาะตัวเลขออกมา เหลืออีกเพียง 6-7 ปีเท่านั้น สถานการณ์ของกัมพูชาไม่ได้มีตัวเลือกมากถ้าประเทศมหาอำนาจมีการแย่งชิงพื้นที่สำหรับขุดเจาะน้ำมันบริเวณนี้กัมพูชาต้องตัดสินใจไปทางใดทางหนึ่งและต้องตัดสินใจอย่างรวดเร็ว

Power Engineering Magazine อัพเดท

โรงไฟฟ้าถ่านหินสร้างใหม่ในอเมริกา ต้องปล่อย CO2 ไม่เกิน 1,100 pounds/MWh คือ โรงไฟฟ้าถ่านหินจะทำตามมาตรฐานเท่านี้ได้ ต้องเพิ่มระบบดักจับและกักเก็บ CO2 (Carbon Capture and Storage) ด้วย อย่างไรก็ตาม การพัฒนาระบบดังกล่าวยังไม่ประสบผลสำเร็จในเชิงธุรกิจ

Road map for a low-carbon Thailand

การศึกษาแนวทางการลดก๊าซเรือนกระจกจากภาคพลังงานอย่างยั่งยืน โดยความร่วมมือระหว่างประเทศญี่ปุ่น-ไทยครั้งนี้ “Road Map for a Low-carbon Thailand towards 2050″ มีจุดประสงค์เพื่อให้เกิดการวางแผนตอบสนองนโยบายดังกล่าวอย่างเป็นวงกว้างในประเทศไทย

1 2 3 4