IGCC-Integrated Gasification Combined Cycle กับถ่านหินเกรดต่ำ ตอนที่ 2/4
ถ่านหินในโลกแบ่งออกเป็นหลายประเภท ถ่านหินที่พบส่วนใหญ่ในประเทศไทยคือ ถ่านหินลิกไนต์ (ถ่านหินเกรดต่ำ) สิ่งสำคัญของเทคโนโลยี IGCC นี้คือสามารถใช้กับถ่านหินเกรดต่ำได้นั่นเอง
ถ่านหินในโลกแบ่งออกเป็นหลายประเภท ถ่านหินที่พบส่วนใหญ่ในประเทศไทยคือ ถ่านหินลิกไนต์ (ถ่านหินเกรดต่ำ) สิ่งสำคัญของเทคโนโลยี IGCC นี้คือสามารถใช้กับถ่านหินเกรดต่ำได้นั่นเอง
แสดงหลักการสำคัญของ Gasification ถ่านหินดูจะเป็นคำที่โดดเด่นที่สุดของยุคนี้ในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า เพราะอยู่ท่ามกลางความต้องการเชื้่อเพลิงหาได้ง่ายราคาถูกแล้ว ยังเป็นข้อจำกัดการปล่อยมลภาวะสิ่งแวดล้อม จังหวะนี้มีแต่คนอยากใช้ถ่านหินเกรดต่ำกันทั่วโลก IGCC จึงเป็นทางเลือกสำคัญของยุคนี้
แผน ASEAN Power Grid ได้กำหนดให้ดำเนินการทั้งหมด 14 Interconnection projects ในกลุ่มประเทศ ASEAN ทั้งหมด จนถึงปัจจุบันปี 2009 ได้ดำเนินการสำเร็จแล้วทั้งหมด 3 projects ด้วยกัน คือ Interconnection ระหว่าง No.1 Malaysia-Singapore, No.2 Thailand-Malaysia, และ No.14 Thailand-Cambodia ประเทศไทยได้รับการยกย่องในกลุ่มประเทศ ASEAN ที่มีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในการผลักดันแผนนี้ให้สำเร็จ
โรงไฟฟ้าพลังความร้อนใต้พิภพ Kamojang ของบริษัืืท Indonesiapower พบว่า มีความแตกต่างจากโรงไฟฟ้าของไทยหลายแง่มุม ที่สำคัญคือ Production well ที่หนึ่งอย่างน้อยต้องผลิตได้ 10 MW จึงจะสร้างโรงไฟฟ้า
พื้นฐานการเปรียบเทียบจะวิเคราห์ในเรื่องของ the WEC 3 A’s = Accessibility, Availability, และ Acceptability เพื่อเป็น Index ที่จะบอกความมีประิสิทธิภาพในแต่ละ Scenario ซึ่ง 4 Scenarios อธิบายได้ตามธรรมชาติของสัตว์ 4 ประเภท สรุปสุดท้ายแบ่งตามทวีปไปจนถึงปี 2050
Power Plant Outage Optimization เป็นเรื่องสำคัญที่อยู่ในกลยุทธ์ของยุคนี้เลยทีเดียว ไม่ใช่เพียงแค่เรื่องประสิทธิภาพในเชิงการผลิตเพียงอย่างเดียว ถ้าโรงไฟฟ้าไหนใช้เชื้อเพลิงแบบ Clean Energy ซ่อมให้เร็วและดียังช่วยลดคาร์บอนได้แบบไม่รู้ตัวอีกด้วย ซึ่งเป็นสิ่งที่นักรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมปัจจุบัน บอกว่าการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพที่สุดคือสิ่งที่สามารถทำได้เลย ณ ขณะนี้ ในส่วนของ Technology ที่จะเข้ามาใหม่ทำให้เกิด Efficiency ที่สูงขึ้น หรือช่วยดักจับและกำจัดคาร์บอนนั้นต้องใช้เวลาศึกษากันจนเป็นรูปเป็นร่างคงอีกหลายปีทีเดียว บางท่านอาจสงสัยว่าทำไม Outage Optimization ทั้งโรงไฟฟ้าฯ ถึงได้พูดแต่เรื่อง Steam Turbine ความจริงก็คือ ทุก Activity ของ Steam Turbine ใน Outage อยู่บน Critical Path นั่นเอง ก่อนที่จะนำเสนอกระบวนการ Optimization นี้จำเป็นจะต้องผ่านการวิเคราะห์โดยใช้หลักการของ CPM-Critical Path Method จึงจะถูกต้อง ร่วมกับกระบวนการทำ Optimization และ Risk Assessment เพื่อการตัดสินใจ
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยมีสถิติที่ไม่เคยเกิด Power Blackout เลย ซึ่งแน่นอน Benchmark ย่อมดีกว่าประเทศผู้นำอย่างสหรัฐอเมริกาและแคนาดาแน่นอน แต่เวลาจะเปรียบเทียบ ฺBlackout Benchmark เราอาจจะต้องเทียบกับประเทศกำลังพัฒนาด้วยกัน