สิ่งแวดล้อม

นวัตกรด้านภัยพิบัติ รางวัลงาน True Innovation Awards 2011 ระดับประเทศ

พบกับ “นวัตกรไทย” ผู้มีไอเดียสร้างสรรค์ดีดี รับรางวัลงาน True Innovation Awards 2011 ระดับประเทศ สำหรับรางวัล “Bronze” ที่คุณบุญทุ่ม ชนะพันธ์ ประสบความสำเร็จกับนวัตกรรม “แคบซูลหลบภัยสึนามิ” เข้ากับสถานการณ์ภัยพิบัติในยุคปัจจุบันทีเดียว ฟังคอมเมนต์และชมบรรยากาศเข้ารอบสุดท้าย ทั้งเครียด ซีเรียส และตื่นเต้นกันค่ะ

Smart Grid อีกทางเลือกของ Energy Efficiency

Smart Grid ช่วยในแง่ของ Energy Efficiency ทั้งด้าน ผู้ผลิต (Supply Side) และด้านผู้ใช้ไฟฟ้า (Demand Side) เช่น ถ้าคนรู้ชัดเจนว่า พีคโหลดกำลังจะต้องทำให้ผู้ผลิตไฟฟ้าต้องเลือกเดินเครื่องน้ำมันเตาเสริมระบบขึ้นมาอีกโรง สังคมของคนฉลาด หรือ Smart Community ก็สามารถช่วยกันรณรงค์หยุดใช้ไฟฟ้าช่วงเวลานั้น ไปใช้ช่วงอื่นได้ ซึ่งช่วยประหยัดเชื้อเพลิงฟอสซิลราคาสูงได้ อีกทั้งช่วยผู้ผลิตไม่ต้องวางแผนสำรองกำลังผลิตจนมากเกินไป

กังหันปั่นน้ำภูเขากลายเป็นไฟฟ้า

ยุคปัจจุบันนี้ การทำงานร่วมกันของชาวบ้านเป็นการดิ้นรนแก้ปัญหาการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนให้มากที่สุด กังหันน้ำปั่นไฟฟ้า ที่คีรีวง นครศรีธรรมราช

Nissan Leaf รถยนต์ไฟฟ้า 100% เข้าไทยแล้ว เท่แบบกรีนๆ 2.85 ล้าน

การใช้พลังงานฟอสซิล และน้ำมัน คือผลประโยชน์และการเมืองระดับโลกที่ทำให้รถไฟฟ้าไม่พัฒนา แต่นิสสันได้มุ่งมั่นและฟันฝ่าอุปสรรคต่างๆซึ่งต้องนับถือจิตใจที่เข้มแข็งของเหล่าผู้บริหาร อยากกรีนๆเท่ๆลองพิจารณาสักคัน

คำตอบการอยู่ร่วมกันของไฟฟ้าและชุมชน

คำตอบการอยู่ร่วมกันของไฟฟ้าและชุมชน :โรงไฟฟ้าพลังน้ำชุมชน-บ้านสามขา จากอดีตถึงปัจจุบัน
“จากป่าไฟใหม้ กลายเป็นป่าชุ่มชื้น; จากหนี้สิน แปลงเป็นรายได้ผลิตไฟฟ้า”
ได้ความเข้าใจชุมชนในท้องถิ่นเพิ่มเติมเพื่อการพัฒนาเราและเขาร่วมกัน คนที่มีหัวใจรับผิดชอบต่อสังคมสไตล์ CSR-Corporate Social Responsibilityอย่างแท้จริงเท่านั้นที่ทำงานอย่างนี้ได้

อนุรักษ์พลังงาน-กฏเหล็กของธุรกิจปัจจุบันต้องมี

เรื่องอนุรักษ์พลังงานเล็กๆ กลายเป็น กฏใหม่ของการลงทุน แล้ว ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีทีเดียวที่ได้ความร่วมมือจากตัวแทนอุตสาหกรรมปิโตรเลียม ไฟฟ้า และภาคธุรกิจ

ไฟฟ้าไทยกับการใช้ทรัพยากรของเพื่อนบ้าน

จากปัจจุบันจนถึง 10 ปีข้างหน้าสัดส่วนการใช้ทรัพยากรของประเทศเราเอง กับการใช้ทรัพยากรจากต่างชาติดูจะใกล้เคียงกัน แต่หลังจาก 10 ปีเป็นต้นไป (ปี พ.ศ.2564) ทรัพยากรของเราเริ่มนิ่ง ปริมาณการใช้ไฟฟ้าที่ต้องการเพิ่มสูงขึ้นนั้นจะแปรผันตรงกับการเพิ่มขึ้นของการใช้ทรัพยากรจากต่างชาติทั้งหมด คราวนี้ที่น่าวิตกคือ ประเทศเราไม่ได้มีกำลังซื้อมากซะด้วย ทีนี้คนขายเชื้อเพลิงหรือขายไฟฟ้าให้เรา อยู่ดีดีเจอวิกฤตการณ์ หรือกลไกตลาด อาจไม่ขายให้เราซะเฉยๆ ก็เป็นได้ และที่ว่าประเทศหนึ่งเจริญ ช่วยทำให้ประเทศข้างเคียงเจริญไปด้วยกัน กรณีไทยอาจซื้อไฟฟ้าจากกัมพูชามั่งก้อได้ ถ้าไม่ทะเลาะกันแบบแตกหักซะก่อน [แต่ขอละไว้ในเรื่อง 3G 😛 เพราะประเทศลาวก้าวล้ำแบบไม่เห็นฝุ่นซะแร้ว]

ภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้น(2): รอยเลื่อนกับเขื่อนไทย

เหตุการณ์ ณ ตอนน้ำท่วมเมื่อพิจารณากับลักษณะของพีค มีสิ่งที่น่าสนใจคือ

+ ถ้าไม่ใช่ช่วงเดือน เม.ย.- พ.ค. ปริมาณพีคคงไม่สูงสุด
+ ถ้าไม่ใช่ช่วงเวลาพีค ปริมาณพีคก็ไม่สูงสุดเช่นกัน แต่กรณีนี้แต่ละพื้นที่เวลาน้ำขึ้นไม่เท่ากัน ต้องพิจารณาละเอียดนิดนึง
+ ถ้าไม่ต้องให้ 2 เขื่อนเสี่ยงช่วย (1/3 ของทุกเขื่อน) โดยเตรียมเขื่อนอื่นไว้ผลิตไฟฟ้าเอง ก็ยังเพียงพออยู่จากปริมาณสำรองของเขื่อน 3 เท่าตัว
+ มีเขื่อนที่ประเทศลาวทำสัญญาซื้อไฟไว้ 6.6% ของปริมาณการผลิตพลังงานไฟฟ้าของไทย ในปี 54 เทียบกับเขื่อนในไทยเพียง 3.6% ในปีเดียวกัน แถมการจัดการยังอยู่ในมือเราที่เตรียมการวักน้ำเอาไว้ในเขื่อนเค้าก่อน เวลาต้องการก็ค่อยปล่อยน้ำได้อีก
อีกทั้งยังได้สรุปแหล่งข้อมูลสำคัญสำหรับการตัดสินใจของผู้บริหารไว้ด้วยค่ะ

ภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้น(1): รอยเลื่อนกับเขื่อนไทย

ดูเหมือนว่า “การจัดการเรื่องเขื่อนเชื่อมโยงกับสถานการณ์แผ่นดินไหวมีความซีเรียสลดลงเยอะทีเดียว” และอีกข้อมูลสนับสนุนที่ว่า “เขื่อนในไทยก็จะผลิตปริมาณพลังงานไฟฟ้าลดลงจนเหลือแค่ 1 เปอร์เซ็นต์กว่าๆ ในปี 2573 ไปใช้ไฟฟ้าจากเขื่อนในลาวแทนด้วยส่วนนึง” นั้นก็เป็นข้อมูลเชิงบวกอีกด้วยค่ะ รู้สึกว่าการจะเกิดวิกฤตหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของผู้ที่เกี่ยวข้องในการเปิดปิดน้ำแล้วละสิ

ดร.ก้องภพ กับการเปิดเผยเรื่องนอกโลกที่เราควบคุมไม่ได้

มนุษย์ทุกคนอยากรู้ทุกสิ่งที่เกี่ยวกับตัวและโลกนี้ แต่เราคงไม่ได้ถูกทำให้รู้ ถ้าผู้ที่รู้ ก็รู้ไว้เฉยๆ ไม่ได้อยากให้ใครมารู้ด้วย อาจจะเกรงหรือไม่เกรงว่าจะเกิดความตื่นตระหนก หรือ จะทำให้กลไกในโลกนี้เปลี่ยนแปลงไป หรือ ที่สำคัญที่สุดยิ่งไปกว่านั้นคือ คนเหล่านี้อยู่ในระดับที่สามารถรู้ได้ไหม

1 2 3 4