ผลกระทบเมื่อแรงดันไฟฟ้าต่ำ
สิ่งสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมการผลิตของประเทศเป็นอย่างมาก การที่จำนวนโรงไฟฟ้าไม่พอ สามารถทำให้เกิดปัญหาเรื่องแรงดันไฟฟ้าของระบบไฟฟ้าได้
สิ่งสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมการผลิตของประเทศเป็นอย่างมาก การที่จำนวนโรงไฟฟ้าไม่พอ สามารถทำให้เกิดปัญหาเรื่องแรงดันไฟฟ้าของระบบไฟฟ้าได้
การรักษา Supply ของกระแสไฟฟ้าให้ตอบสนองกับ Demand หรือที่เรียกกันในภาษาเทคนิคว่า Match Demand and Supply of Electricity นี่เป็นความยากของ System Operator เสียจริง ตัวอย่าง กรณีศึกษาพลังงานไฟฟ้าในช่วงพระราชพิธีอภิเษกสมรส ประเทศเนเธอร์แลนด์
Smart Grid ช่วยในแง่ของ Energy Efficiency ทั้งด้าน ผู้ผลิต (Supply Side) และด้านผู้ใช้ไฟฟ้า (Demand Side) เช่น ถ้าคนรู้ชัดเจนว่า พีคโหลดกำลังจะต้องทำให้ผู้ผลิตไฟฟ้าต้องเลือกเดินเครื่องน้ำมันเตาเสริมระบบขึ้นมาอีกโรง สังคมของคนฉลาด หรือ Smart Community ก็สามารถช่วยกันรณรงค์หยุดใช้ไฟฟ้าช่วงเวลานั้น ไปใช้ช่วงอื่นได้ ซึ่งช่วยประหยัดเชื้อเพลิงฟอสซิลราคาสูงได้ อีกทั้งช่วยผู้ผลิตไม่ต้องวางแผนสำรองกำลังผลิตจนมากเกินไป
การไฟฟ้าฯ ทั้งสามส่วนนี้ สามารถแบ่งวิกฤตได้เป็น 3 ส่วนคือ วิกฤตปริมาณน้ำ (กรมชลประทานและการไฟฟ้าฝ่ายผลิต), วิกฤตต่อลูกค้าใช้ไฟฟ้าโดยตรง (การไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค) และ วิกฤตที่จะไม่มีไฟฟ้าส่งให้ใช้เพียงพอ(การไฟฟ้าฝ่ายผลิต)
การใช้พลังงานฟอสซิล และน้ำมัน คือผลประโยชน์และการเมืองระดับโลกที่ทำให้รถไฟฟ้าไม่พัฒนา แต่นิสสันได้มุ่งมั่นและฟันฝ่าอุปสรรคต่างๆซึ่งต้องนับถือจิตใจที่เข้มแข็งของเหล่าผู้บริหาร อยากกรีนๆเท่ๆลองพิจารณาสักคัน
จากปัจจุบันจนถึง 10 ปีข้างหน้าสัดส่วนการใช้ทรัพยากรของประเทศเราเอง กับการใช้ทรัพยากรจากต่างชาติดูจะใกล้เคียงกัน แต่หลังจาก 10 ปีเป็นต้นไป (ปี พ.ศ.2564) ทรัพยากรของเราเริ่มนิ่ง ปริมาณการใช้ไฟฟ้าที่ต้องการเพิ่มสูงขึ้นนั้นจะแปรผันตรงกับการเพิ่มขึ้นของการใช้ทรัพยากรจากต่างชาติทั้งหมด คราวนี้ที่น่าวิตกคือ ประเทศเราไม่ได้มีกำลังซื้อมากซะด้วย ทีนี้คนขายเชื้อเพลิงหรือขายไฟฟ้าให้เรา อยู่ดีดีเจอวิกฤตการณ์ หรือกลไกตลาด อาจไม่ขายให้เราซะเฉยๆ ก็เป็นได้ และที่ว่าประเทศหนึ่งเจริญ ช่วยทำให้ประเทศข้างเคียงเจริญไปด้วยกัน กรณีไทยอาจซื้อไฟฟ้าจากกัมพูชามั่งก้อได้ ถ้าไม่ทะเลาะกันแบบแตกหักซะก่อน [แต่ขอละไว้ในเรื่อง 3G 😛 เพราะประเทศลาวก้าวล้ำแบบไม่เห็นฝุ่นซะแร้ว]
This is not just the movie “BLACK Start Preparation Plan in Thailand”, but it is regularly executed the plan in Electricity Authority of Thailand (EGAT).
แผน ASEAN Power Grid ได้กำหนดให้ดำเนินการทั้งหมด 14 Interconnection projects ในกลุ่มประเทศ ASEAN ทั้งหมด จนถึงปัจจุบันปี 2009 ได้ดำเนินการสำเร็จแล้วทั้งหมด 3 projects ด้วยกัน คือ Interconnection ระหว่าง No.1 Malaysia-Singapore, No.2 Thailand-Malaysia, และ No.14 Thailand-Cambodia ประเทศไทยได้รับการยกย่องในกลุ่มประเทศ ASEAN ที่มีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในการผลักดันแผนนี้ให้สำเร็จ