Power Plant

Asset Management ที่นอกจากอาศัยแต่ ERP

เมื่อพูดถึง Asset Management หลายๆ คนคงนึกถึงการนำเทคโนโลยีการเชื่อมโยงข้อมูลเข้ามาใช้ เช่น ระบบ ERP หรือเช่นพวก การสร้าง Digital Power Plant เป็นต้น แต่ยังมีอีกแบบที่น่าสนใจ ยาก แต่สามารถทำได้เลย สไตล์แบบนี้มักเห็นได้จากประเทศจีน หรืออินเดีย ที่เน้นแบบเห็นผล แต่ใช้งานได้จริง

ควันหลง POWERGEN ASIA 2009

จากที่ได้ post ใน blog คราวก่อนให้ไปร่วมงาน POWERGEN ASIA 2009 กันที่เมืองทองธานี เมื่อวานได้มีโอกาสแวะชมงานกับเค้าเหมือนกัน เลยนำภาพบรรยากาศมาฝากกัน และสาระสำคัญอีกเพียบที่ได้จากนิทรรศการ

IGCC-Integrated Gasification Combined Cycle กับถ่านหินเกรดต่ำ ตอนที่ 4/4

IGCC Power Plant มีข้อได้เปรียบ คือ Net Efficiency เพิ่มสูงขึ้น, เปลี่ยนมาใช้ถ่านหินเกรดต่ำซึ่งมีอยู่เป็นจำนวนมากและราคาถูกแทนเชื้อเพลิงเดิม, และลดปริมาณการปล่อยมลภาวะสู่สิ่งแวดล้อม ซึ่งจะส่งผลประโยชน์เรื่องภาษีคาร์บอนในอนาคตอันใกล้ โดยเทคโนโลยีนี้อยู่ในขั้นตอนการพัฒนาเพื่อให้คุ้มค่าต่อการลงทุน อย่างไรก็ตาม การเข้าใจถึงหลักการของกระบวนการข้างต้นย่อมเป็นข้อได้เปรียบในแง่การตัดสินใจในเวลาที่เหมาะสมต่อการลงทุน เมื่อเทคโนโลยีออกสู่ตลาดอย่างกว้างขวาง

Power-Gen ASIA 7-9 ตุลาคมนี้

ติดตามการบรรยายงาน Power-Gen Asia หัวข้อ Power Plant Performance Management, Steam Turbine Experiences & Countermeasures, และ Heat Recovery Steam Generator (HRSG) Life Consumption นี้ได้ในงาน Power-Gen Asia ในวันที่ 9 ตุลาคม 2552 ณ IMPACT เมืองทองธานี

IGCC-Integrated Gasification Combined Cycle กับถ่านหินเกรดต่ำ ตอนที่ 2/4

ถ่านหินในโลกแบ่งออกเป็นหลายประเภท ถ่านหินที่พบส่วนใหญ่ในประเทศไทยคือ ถ่านหินลิกไนต์ (ถ่านหินเกรดต่ำ) สิ่งสำคัญของเทคโนโลยี IGCC นี้คือสามารถใช้กับถ่านหินเกรดต่ำได้นั่นเอง

IGCC-Integrated Gasification Combined Cycle กับถ่านหินเกรดต่ำ ตอนที่ 1/4

แสดงหลักการสำคัญของ Gasification ถ่านหินดูจะเป็นคำที่โดดเด่นที่สุดของยุคนี้ในอุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า เพราะอยู่ท่ามกลางความต้องการเชื้่อเพลิงหาได้ง่ายราคาถูกแล้ว ยังเป็นข้อจำกัดการปล่อยมลภาวะสิ่งแวดล้อม จังหวะนี้มีแต่คนอยากใช้ถ่านหินเกรดต่ำกันทั่วโลก IGCC จึงเป็นทางเลือกสำคัญของยุคนี้

โรงไฟฟ้าพลังงานถ่านหินสะอาด

หลังจากการเปิดตัว The World 1st Clean Coal Fired Power Plant ที่ประเทศเยอรมันนีเมื่อเดือนกันยายนปี 2551 ไปแล้วนั้น แม้ว่ามีแรงโจมตีเรื่องความเสี่ยงจากการระเบิดออกของก๊่าซคาร์บอนไดออกไซด์ความดันสูงที่ฝังใต้ดินนั้น แต่บทสรุปสุดท้ายชาวโลกก็ยังคงต้องการเทคโนโลยีรองรับให้กักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ดีกว่าปล่อยลอยอยู่ในบรรยากาศอยู่ดี ทั้งที่ฝั่งอเมริกายังกักไม่ยอมลงนาม Kyoto Protocol แต่กลับมี Roadmap เป็นตัวเป็นตนที่ร่วมมือกับประเทศจีนที่ออกมาหมาดหมาดเมื่อเดือนมกราคม ปี 2552 นี้เอง

ผลิตไฟจากภูเขาไฟ-พลังความร้อนใต้พิภพ

โรงไฟฟ้าพลังความร้อนใต้พิภพ Kamojang ของบริษัืืท Indonesiapower พบว่า มีความแตกต่างจากโรงไฟฟ้าของไทยหลายแง่มุม ที่สำคัญคือ Production well ที่หนึ่งอย่างน้อยต้องผลิตได้ 10 MW จึงจะสร้างโรงไฟฟ้า

CEPSI 2008: Power Plant Outage Optimization

Power Plant Outage Optimization เป็นเรื่องสำคัญที่อยู่ในกลยุทธ์ของยุคนี้เลยทีเดียว ไม่ใช่เพียงแค่เรื่องประสิทธิภาพในเชิงการผลิตเพียงอย่างเดียว ถ้าโรงไฟฟ้าไหนใช้เชื้อเพลิงแบบ Clean Energy ซ่อมให้เร็วและดียังช่วยลดคาร์บอนได้แบบไม่รู้ตัวอีกด้วย ซึ่งเป็นสิ่งที่นักรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมปัจจุบัน บอกว่าการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพที่สุดคือสิ่งที่สามารถทำได้เลย ณ ขณะนี้ ในส่วนของ Technology ที่จะเข้ามาใหม่ทำให้เกิด Efficiency ที่สูงขึ้น หรือช่วยดักจับและกำจัดคาร์บอนนั้นต้องใช้เวลาศึกษากันจนเป็นรูปเป็นร่างคงอีกหลายปีทีเดียว บางท่านอาจสงสัยว่าทำไม Outage Optimization ทั้งโรงไฟฟ้าฯ ถึงได้พูดแต่เรื่อง Steam Turbine ความจริงก็คือ ทุก Activity ของ Steam Turbine ใน Outage อยู่บน Critical Path นั่นเอง ก่อนที่จะนำเสนอกระบวนการ Optimization นี้จำเป็นจะต้องผ่านการวิเคราะห์โดยใช้หลักการของ CPM-Critical Path Method จึงจะถูกต้อง ร่วมกับกระบวนการทำ Optimization และ Risk Assessment เพื่อการตัดสินใจ

1 2 3