ข่าวคาร์บอน

Road map for a low-carbon Thailand

การศึกษาแนวทางการลดก๊าซเรือนกระจกจากภาคพลังงานอย่างยั่งยืน โดยความร่วมมือระหว่างประเทศญี่ปุ่น-ไทยครั้งนี้ “Road Map for a Low-carbon Thailand towards 2050″ มีจุดประสงค์เพื่อให้เกิดการวางแผนตอบสนองนโยบายดังกล่าวอย่างเป็นวงกว้างในประเทศไทย

Case Study from Germany-ต้านเก็บคาร์บอน CO2 ใต้ดิน

โรงไฟฟ้าถ่านหินสะอาดแห่งแรกนี้ได้เริ่มเดินเครื่องเมื่อ ปี 2008 ประสบความสำเร็จในเรื่องของเทคโนโลยีกำจัด CO2 ไปเรียบร้อยแต่เมื่อเข้าถึงขั้นตอนของการ Storage ได้เกิดการต่อต้านจากคนท้องถิ่นในกระบวนการ Storage ที่จะฉีด (inject) CO2 เข้าไปลึก 1 กม. ใต้พื้นดิน เนื่องจากกลัวผลกระทบรุนแรงต่อชีวิตคน ในกรณีที่ CO2 ปริมาณมากความดันสูงจะพุ่งขึ้นมาจากรอยแยกของพื้นดิน ทำให้บริษัทต้องตัดสินใจปล่อย CO2 ออกสู่บรรยากาศ

องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกกับภารกิจกำจัดขยะชุมชน

ความคืบหน้าของโครงการกำจัดขยะชุมชนที่ให้เข้าถึงทุกส่วนทุกพื้นที่ของประเทศไทยนั้น องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกแห่งประเทศไทย – TGO เตรียมลงพื้นที่ วันนี้ก็เป็นอีกวันที่จัดให้กับเทศบาลจังหวัดเป็นครั้งที่ 2 แล้ว เนื้อหาสาระที่สำคัญก็คือ เทคโนโลยีที่เลือกใช้จัดการกับขยะมูลฝอยชุมชน และ Case Study กับ CDM ฺีBundling Project

TESCO Lotus กับการลด Carbon Footprint

Carbon Footprint หรือการวัดปริมาณคาร์บอนที่ปล่อยออกมาจากผลิตภัณฑ์ตลอดวงจรชีวิต (Product Life Cycle) ได้ถูกวางแผนลดตั้งแต่ปี 2007 ด้วยพันธกิจที่เข้มแข็งของ Sir Terry Leahy ประธานกรรมการบริหารของกลุ่ม Tesco จากปี 2006 ลด Carbon Footprint สะสมได้ถึง 14.4% ในปี 2008 แต่นี่เป็นเพียงยกที่หนึ่ง ยกต่อไปจะยุ่งยากหนักกว่าเดิมแน่นอน เพราะรู้ๆ กันอยู่แล้วว่าการคิดแบบ Life Cycle ต้องอาศัยความร่วมมือของต้นน้ำและปลายน้ำเป็นสำคัญทีเดียว

CLIMATE CHANGE: Its Impact to the Electricity Sector

เห็นได้ชัดว่าภายในปี 2050 นั้นการลดก๊าซ CO2 equivalent จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากกลุ่ม Non-Annex I ถึง 23% นั่นคือ มีเพียงข้อตกลงในการช่วยกันลดก๊าซฯ ของกลุ่มประเทศพัฒนาแล้ว (Annex I) เท่านั้น จะไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ อย่างเช่น จีนและอินเดีย ควรมีส่วนร่วมในการลด CO2 อย่างแน่นอน จากที่ปริมาณ CO2 ที่ปล่อยจากทั้ง 2 ประเทศนี้สูงมาก

Voluntary Carbon Market-ตลาดคาร์บอนภาคสมัครใจไปถึงไหนแล้ว

รายงานฉบับที่เพิ่งออกมาหมาดๆ เดือนพฤษภาคม 2552 ชื่อเล่มว่า “Fortifying the Foundation: State of the Voluntary Carbon Markets 2009” จาก Ecosystem Marketplace และ New Carbon Finance ซึ่งได้รวบรวมความเคลื่อนไหวของ ตลาดคาร์บอนภาคสมัครใจ ได้กล่าวไว้ว่า มันเป็นการง่ายที่จะส่งเสริมตลาดฯ โดยแสดงตัวเลขการซื้อขายสูงจาก 66 ล้านตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า หรือ 66m tCO2e ในปี 2007 ไปสู่ 123.4m tCO2e ในปีที่แล้ว แต่พอมาดูในรายละเอียดไม่ได้่่ง่ายอย่างที่คิดเลย

โรงไฟฟ้าพลังงานถ่านหินสะอาด

หลังจากการเปิดตัว The World 1st Clean Coal Fired Power Plant ที่ประเทศเยอรมันนีเมื่อเดือนกันยายนปี 2551 ไปแล้วนั้น แม้ว่ามีแรงโจมตีเรื่องความเสี่ยงจากการระเบิดออกของก๊่าซคาร์บอนไดออกไซด์ความดันสูงที่ฝังใต้ดินนั้น แต่บทสรุปสุดท้ายชาวโลกก็ยังคงต้องการเทคโนโลยีรองรับให้กักเก็บคาร์บอนไดออกไซด์ดีกว่าปล่อยลอยอยู่ในบรรยากาศอยู่ดี ทั้งที่ฝั่งอเมริกายังกักไม่ยอมลงนาม Kyoto Protocol แต่กลับมี Roadmap เป็นตัวเป็นตนที่ร่วมมือกับประเทศจีนที่ออกมาหมาดหมาดเมื่อเดือนมกราคม ปี 2552 นี้เอง

คาร์บอนเครดิต กับปัญหาการหาช่องว่างทางธุรกิจที่ต้องแก้ไข

คาร์บอนเครดิต กับปัญหาการหาช่องว่างทางธุรกิจที่ต้องแก้ไข เห็นว่าน่าสนใจครับ สำหรับผู้ที่สนใจงานของคุณ สฤณี สามารถ follow ได้ที่ twitter @fringer

สนับสนุน Carbon Tax – ภาษีคาร์บอนไดออกไซด์

สหรัฐฯ จะเอาจริงเอาจังในการเก็บภาษีคาร์บอนครั้งนี้เป็นสิ่งที่ท่านสนับสนุนเป็นอย่างยิ่งถ้ารายได้จะมาสู่ประชาชนชาวสหรัฐในรูปของการหักจาก Payroll Tax เองแทนที่เข้าสู่รัฐบาล ที่เรียกกันว่า “Revenue Neutral”

Update อเมริกา: ลงเอยกันที่ Carbon Tax

ทิศทางของสหรัฐอเมริกาภายใต้การนำโดย Barack Obama ในเรื่องของ Climate Change นั้น ส่อแววชัดเจนในการตัดสินใจที่จะใช้Auction System กับทั้งหมด 100% ของ Carbon Allowances