ความรู้ทั่วไปด้านพลังงาน

CEPSI 2010 coming soon

Conference of the Electric Power Supply Industry (CEPSI), hosted by Taiwan Power Company (Taipower), will be held on October 24-28, 2010 at the Taipei International Convention Center and the Taipei World Trade Center-Exhibition Hall 1 in Taipei, Taiwan.

Case Study from Germany-ต้านเก็บคาร์บอน CO2 ใต้ดิน

โรงไฟฟ้าถ่านหินสะอาดแห่งแรกนี้ได้เริ่มเดินเครื่องเมื่อ ปี 2008 ประสบความสำเร็จในเรื่องของเทคโนโลยีกำจัด CO2 ไปเรียบร้อยแต่เมื่อเข้าถึงขั้นตอนของการ Storage ได้เกิดการต่อต้านจากคนท้องถิ่นในกระบวนการ Storage ที่จะฉีด (inject) CO2 เข้าไปลึก 1 กม. ใต้พื้นดิน เนื่องจากกลัวผลกระทบรุนแรงต่อชีวิตคน ในกรณีที่ CO2 ปริมาณมากความดันสูงจะพุ่งขึ้นมาจากรอยแยกของพื้นดิน ทำให้บริษัทต้องตัดสินใจปล่อย CO2 ออกสู่บรรยากาศ

900 กิโลจากไทย-โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เวียดนาม Ninh Thuan

แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าของประเทศเวียดนาม ถึงปี ค.ศ. 2030 ภายใต้การนำของนายกฯ Nguyen Tan Dung ที่อนุมัติเมื่อวันที่ 22 มิ.ย. 53 ให้สร้างทั้งหมด 8 แห่ง โดยมีกำลังผลิตรวมประมาณ 15,000 – 16,000 MW ด้วยกัน
ประเทศไทย ที่มาพร้อมกับโชคช่วยหรืออย่างไร ที่สามารถแก้วิกฤตน้ำมันได้ด้วยการค้นพบก๊าซธรรมชาติอ่าวไทย จนวันนี้ ถึงคราวที่ต้องเผชิญกับการตัดสินใจด้วยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์อีกรอบซะแล้ว!!!

Social Network กับองค์กรด้านพลังงาน (2)

พลังขับเคลื่อนของ Social Media ต่อจุดประสงค์ของโครงการ กลุ่มเป้าหมาย และผลจากกลุ่มตอบรับ ทั้งยังแปรตามรูปแบบความเคลื่อนไหวที่ต้องการ เช่น ปตท. มีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ลักษณะของ Animation ที่ใช้จึงเหมือนเลี้ยง ทามาก๊อตจิ ขณะที่ กฟผ. ปลูกแล้วปลูกเลย ยังไงก้อตามน่าสนใจที่ทัังสององค์กรทุ่มกับ Social Media ได้มากขนาดนี้

สถานการณ์โรงไฟฟ้าในประเทศไทย

สถานการณ์โรงไฟฟ้าในประเทศไทย หลังจากที่เล่ม PDP2010 ฉบับใหม่ได้เผยโฉม จึงต้องเตรียมรับมือกับสถานการณ์ใหม่ที่เคี่ยวกว่าเดิม

Green Island-Samui

โครงการ Green Island Project ซึ่งมีแผนดำเนินการ 10 ปีเริ่มตั้งแต่ปี 2551 จะทำให้ Samui กลายเป็น Low Carbon Destination อันดับแรกๆ ของนักท่องเที่ยวทั่วโลก

PDP 2010 ใน Nickname ว่า Green PDP

มีสาระสำคัญจาก ครม. เมื่อ 23 มี.ค. 53 ตามนี้ค่ะ
สำหรับหน่วยงาน กฟผ. – การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ก็ได้ออกเล่ม PDP2010 เป็นทางการ เมื่อเดือนเม.ย. 53 ตามนี้ค่ะ
และตบท้ายด้วยการสกัด PDP ดูเรื่องการลด CO2 ว่าจะมาถึงเมื่อไร เพื่อเตรียมรับมือกันให้ทันคะ

EIA vs. HIA (ศัพท์ใหม่ที่เจ้าของโครงการฯ ต้องรู้)

HIA มองลึกกว่า EIA และยังผนวกเอามิติของการประเมินผลกระทบสะสมด้วย (Cumulative Impact Assessment) ในขณะที่ EIA ไม่ต้องคิดมาก เอาแค่ตามกฎหมายระบุโดยมิได้คำนึงถึงว่าน้ำหรือบรรยากาศในบริเวณนั้นอิ่มตัวและรองรับหรือเจือจางได้อีกหรือเจือจางได้อีกหรือไม่ มิำได้คำนึงถึงว่าบุคคลหรือชุมชนที่มีภูมิแพ้สารมลพิษจะกระทบหรือไม่ EIA ให้ผลลัพธ์ว่า เจ้าของโครงการ ต้องทำอะไรบ้าง มิให้กระทบต่อคุณภาพดิน น้ำ อากาศ สัตว์ พืชหรือทำได้แต่สิ่งแวดล้อมเหล่านั้นมีค่าเปลี่ยนแปลงไปไม่เกินมาตรฐานที่กฏหมายกำหนด ส่วน HIA ให้ผลลัพธ์ว่าเจ้าของโครงการต้องทำอะไรบ้างที่มิให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพบุคคลและชุมชน นี่เองจึงเป็นจุดกำเนิดของ Corporate Social Responsibility: CSR

ฉลากคาร์บอน – Carbon Footprint Label (1)

การสัมมนาและพิธีลงนามสัญญาการใช้เครื่องหมาย Carbon Footprint ในวันที่ 9 เมษายน 2553 เป็นความร่วมมือระหว่าง องค์การบริหารก๊าซเรือนกระจก (TGO-Thailand Greenhouse Gas Management Organization) และศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ สวทช. ในพื้นที่จัดงานมีบริษัทต่างๆ จัด Booth แสดงสินค้าที่ได้รับฉลาก Carbon Footprint
สิ่งที่เป็นประเด็นสำคัญคือ การทำโครงการเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หรือโครงการเกี่ยวกับ CO2 แบบโครงการฉลาก Carbon Footprint นี้เป็นกลยุทธ์ในการทำ CSR ได้อย่างมีการ Support เชิงเทคนิคระดับโลกทีเดียว และยังเป็นการเตรียมความพร้อมรับกับระบบ ISO14025 ซึ่งคาดว่าน่าที่จะมีทุกอุตสาหกรรมที่ต้องผ่านการประเมินฯ ในอนาคตด้วย

1 5 6 7 8 9