การศึกษาแนวทางการลดก๊าซเรือนกระจกจากภาคพลังงานอย่างยั่งยืน โดยความร่วมมือระหว่างประเทศญี่ปุ่น-ไทยครั้งนี้ จากนโยบายระดับโลกและกิจกรรมลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศผ่านระเบียบวิธีเชิงปฏฺิบัติ (global policies and actions to avoid catastrophic climate change through greater practical methodologies) “Road Map for a Low-carbon Thailand towards 2050” มีจุดประสงค์เพื่อให้เกิดการวางแผนตอบสนองนโยบายดังกล่าวอย่างเป็นวงกว้างในประเทศไทย
road map: low-carbon Thailand (LCT) นี้คือความร่วมมือการวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกียวโต (Thammasat University’s Sirindhorn International Institute of Technology (SIIT), the Asian Institute of Technology, the National Institute for Environmental Studies at Japan’s Kyoto University, and the Mizuho Information and Research Institute in Japan).
เริ่มต้นในปี 2553 โดยดำเนินการวิจัยเพื่อให้มีการตีความจากนโยบายออกมาในเชิงการปฏิบัติให้เกิดสังคมคาร์บอนต่ำอย่างยั่งยืน
อาจารย์บัณฑิต ประธานทีมวิจัย(Bundit Limmeechokchai, SIIT associate professor and head of the Thai-Japanese research team) กล่าวว่า การวิจัยมุ่งเน้นให้ผู้ดูแลนโยบาย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้บริหารประเทศ และชุมชน ได้ตระหนักถึงการเติบโตของประเทศอย่างรวดเร็ว พร้อมๆ กับการสร้างสังคมคาร์บอนต่ำ
วิธีการวัดต่างๆ ถูกจัดเรียงใน 6 กลุ่ม : clean power, green industry, smart passenger transport, effective freight transport, Thai-style comfortable houses, และ modern buildings.
แหล่งพลังงานทดแทน เช่น โซล่าร์เซลล์ ลม ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ ได้ถูกรวมไว้แล้วทั้งเป้าหมายระยะสั้นและระยะยาว
Roadmap ระยะสั้น คือ Nationally Appropriate Mitigation Action (NAMA) และ Roadmap ระยะยาว คือ การพิจารณาถึงความยั่งยืนของประเทศ
แท้จริงแล้วประเทศไทยผลักดันนโยบายผ่านแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนแม่บทการลดก๊าซเรือนกระจกแห่งชาติ ( 11th National Economic and Social Development Plan (2012-2016) and the National Master Plan on Climate Change (2011-2050)) ซึ่งจัดทำโดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นั่นคือ ประเทศไทยควรสมัครโครงการ NAMA เพื่อได้การสนับสนุนระหว่างประเทศ
ในการต่อรองบนเวทีเรื่องผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศระดับชาติ ประเทศสหราชอาณาจักรและประเทศอุตสาหกรรมอื่นๆ ยืนยันก่อนปี 2020 จะให้การสนับสนุนการขับเคลื่อนเป็นเงิน 100 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 3,000 ล้านบาท) ต่อปี
การสนับสนุนต่อประเทศกำลังพัฒนานี้ การนำ NAMA เข้าใช้งานก็เพื่อแสดงจุดยืนของการเป็นผู้นำด้านนี้
มีโครงการลงทุนหลายโครงการเพื่อการลดก๊าซเรือนกระจก โดยการสนับสนุนจากประเทศกำลังพัฒนา แต่ปัจจุบันไม่เห็นว่าภาครัฐจะมองหาการสนับสนุนสักเท่าไร
มีเพียงทางเลือกลดก๊าซเรือนกระจกที่ศึกษาเท่านั้นที่คุ้มค่าต่อการลงทุนโครงการ ซึ่งจะรวมใน Scenario สังคมคาร์บอนต่ำในปี 2050ซึ่งผลการศึกษานี้เป็น Roadmap ฉบับแรกที่จะสำเร็จเมื่อใช้โมเดลที่เรียกว่า “AIM/Enduse”
ภายใต้ Scenario ที่ไม่มีการลดก๊าซเรือนกระจกเลย ( the 2050 BAU (business-as-usual) scenario) ประเทศไทยจะปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูงถึง 769,896kt-CO2 (kilotonnes of carbon dioxide) = 4.6 เท่าของปีฐาน 2005.
ในปี 2050 ตัวเลขการปล่อยมลพิษต่อหัว (the per-capita emission of Thailand ) ถูกคาดการณ์ว่าจะเพิ่มสูงจาก 2.9 tonnes of CO2 ต่อปี เป็น 7.1t-CO2/ปี หรือ 9.9t-CO2/ปี, สำหรับการที่มีและไม่มีวิธีการป้องกันตามลำดับ
เพื่อที่จะลดก๊าซเรือนกระจก มีหลายตัวแปรที่ใช้วัด เช่น เทคโนโลยี diffusion of low- carbon ในภาคที่อยู่อาศัย, อาคารประหยัดพลังงาน อุตสาหกรรมการจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ เชื้อเพลิงทดแทน และระบบขนส่งแบบใหม่สำหรับภาคขนส่ง รวมทั้ง การผลิตไฟฟ้าสะอาดในภาคพลังงานด้วย
เป้าหมายการลดก๊าซเรือนกระจกควรประกอบไปด้วย supply และ demand sides ซึ่งต้องอาศัยเทคโนโลยีหลากหลาย
ในด้าน supply side เทคโนโลยีพลังงานทดแทน และเทคโนโลยีสะอาดมีบทบาทสำคัญ ขณะที่ด้าน demand side สิ่งที่ต้องการคือ อุปกรณ์ประหยัดพลังงาน และความสามารถในการเลือกใช้เชื้อเพลิง
ดังนั้น เพื่อให้ประเทศไทยมีความยั่งยืนไปจนกระทั่งปี 2050 สิ่งต่างๆเหล่านี้เป็นเครื่องมือทางด้านนโยบายที่ควรนำเข้าใช้งานเนิ่นๆ
แนวคิด LCS จะแตกต่างจากประเทศพัฒนาแล้ว ในแง่ที่ประเทศเหล่านั้นมี per-capita emissions และemissions ต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับ GDP
อย่างไรก็ตาม การศึกษา LCS เพิ่มโอกาสให้ประเทศไทยในการตัดสินใจเรื่องพลังงานในอนาคตที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างพื้นฐานและไลฟ์สไตล์
ประเทศไทยปัจจุบันเผชิญความท้าทายในการเติบโตด้านพลังงาน สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ ด้วยทรัพยากรที่จำกัด หนึ่งในการเอาชนะและข้ามสิ่งเหล่านี้ไปได้คือการเปลี่ยนกระบวนทัศน์
ผลจากโมเดลด้าน Energy-environment ต้องอาศัยต้นทุนสูงเพื่อสร้างความยั่งยืน ต้นทุนที่สูงจะทำให้ GDP ลดลงซึ่งต้องชดเชยด้วยมาตรการหรือวิธีการระหว่างประเทศเช่น Clean Development Mechanism
ผลการศึกษาโดยวิธี AIMs/Enduse
Based on primary energy demand by sources, total GHG emissions in the BAU are projected to increase from 178,726 kt-CO2 in 2005 to 769,896 kt-CO2 in 2050. The AIM/Enduse modelling results also show that GHG emissions from the power sector will be 321,514 kt-CO2 in 2050, accounting for 41.8 per cent of total GHG emissions, and GHG emissions from the industry sector will be 199,084 kt-CO2, accounting for 25.9 per cent of all GHG emissions.
In 2050, GHG emissions from passenger and freight transport are also found to be about 4.6 times the amount in 2005, and their share will be 25.6 per cent of total GHG emissions.
In 2050, the AIM/Enduse results estimate that total GHG emissions in Thailand will be reduced from 769,896 kt-CO2 in the BAU scenario to 551,575 kt-CO2 in the 2050 LCS (a reduction of 28.4 per cent of total GHG emissions) through the adoption of countermeasures for GHG emissions in the actions of clean power generation, green industries, effective freight transport, smart passenger transport, modern buildings, and Thai-style comfortable houses.
In the 2050 LCS, the green industry measures account for the largest proportion (45.5 per cent) of the CO2 reduction, followed by smart passenger transport (38.2 per cent), Thai-style comfortable houses (35 per cent), modern buildings (34.6 per cent), clean power (18.1 per cent) and efficient freight transport (13.2 per cent)
Roadmap มุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ วิธีการลดก๊าซเรือนกระจกบางวิธีจะต้องทำแต่เนิ่น (ก่อนปี 2030) และบางวิธีจะต้องทำหลังจากนั้น เนื่องจากข้อจำกัดด้านเทคโนโลยีในระดับที่คุ้มทุน และวงจรชีวิตของเทคโนโลยีด้านพลังงานที่มีอยู่
การวางแผนล่วงหน้าสำคัญ
ถ้าวิธีการเหล่านี้ ไม่ถูกนำไปวางแผนตั้งแต่เร่ิมต้น เป้าหมายระดับชาติและระดับโลกในอนาคตไม่มีทางสำเร็จ
วิธีการจัดการก๊าซเรือนกระจกทั้งทางตรงและทางอ้อมจะถูกนำเข้าใช้งานโดยรัฐบาล เอกชน และสังคม ดังนั้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดจะเป็นกลุ่มเป้าหมายของการพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นสังคมคาร์บอนต่ำร่วมกัน
นอกเหนือจากนั้น เนื่องจากข้อจำกัดเรื่องทรัพยากรและเงินลงทุน การปรับใช้เทคโนโลยีและโมเดลอย่างเหมาะสมจะใช้บอกตัววัดและเวลาที่เหมาะสมเพื่อให้การลดก๊าซเรือนกระจกประสบผลสำเร็จ
Source: The Nation June 6, 2013